กวาดตาผ่านปีของการพัฒนานโยบายด้านยาเสพติดในประเทศไทย
15 มกราคม 2561
แบ่งปันหน้านี้
ร่วมเขียนโดย พัชรภาวลัญช์ อักบาร์ เจ้าหน้าที่สนับสนุนงานนโยบาย
และ ปรินทร์ เหล่ามนัสศักดิ์ ประธานองค์กรนักศึกษากฎหมายแห่งเอเชีย
การปฏิรูปนโยบายยาเสพติดในประเทศไทยได้เริ่มต้นขึ้นในช่วงต้นปี พ. ศ. 2560 โดยมีการแก้ไขเพิ่มเติมในประเด็นการครอบครองและการกระทำความผิด จึงทำให้ ในปัจจุบันนี้การฟ้องร้องดคีที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ต้องมีหลักฐานที่เพียงพอเพื่อแสดงถึงความชอบธรรมของผู้ถูกกล่าวหาว่า มีควาผิดฐานเป็นผู้ขาย / ผลิตยาเสพติด นอกจากนี้แล้วนั้น ระยะเวลาการรับผิดสำหรับความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ก็ได้มีการลดลง ถือเป็นสัญญาณอันดีในการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็นมากต่อบริบทของการเพิ่มจำนวนประชากรในเรือนจำ
คาดว่าจะมีการปฏิรูปมากขึ้นและมีการคาดหวังอย่างกว้างขวางว่าประเทศไทยอยู่ภายใต้ระบอบการปกครองของรัฐบาลทหารจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากต่อนโยบายยาเสพติดของประเทศ ที่อันที่จริงแล้วนั้นอยู่ภายใต้การดูแลของสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ONCB) การอภิปรายจากหลายภาคส่วนจึงมีส่วนสำคัญต่อความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนไปสู่แนวทางการจัดการที่มุ่งเน้นด้านสุขภาพ หนึ่งในความพยายามที่จะให้มีความเปลี่ยนแปลงซึ่งนโยบายยาเสพติดก็คือ การที่จะทำให้มีการยกเลิกโทษฐานเป็นผู้ใช้ยา และใช้แนวทางการมีส่วนร่วมของกระทรวงสาธารณสุขในยุทธศาสตร์ยาเสพติดแห่งชาติแทนการจำคุกกักขังผู้เสพ
ส่วนสุดท้ายของการแก้ไขร่างพระราชบัญญัติควบคุมยาเสพติดยังไม่ได้มีการเผยแพร่ออกสู่สาธารณะชน โดยคาดว่าการปรึกษาหารือกับทางหน่วยงานองค์กรสาธารณะเกี่ยวกับกฎหมายที่เสนอจะมีขึ้นในช่วงต้นปี พ. ศ. 2561 จะมีขึ้นเพื่อนำนโยบายนี้มาใช้ในปลายปี พ.ศ. 2561
นอกจากนี้แล้ว ควบคู่ไปกับความพยายามของรัฐบาล ทางชุมชนผู้ใช้ยาเสพติดและผู้สนับสนุนงานการลดอันตรายการจากใช้ยาเสพติดก็ได้ร่วมกันร่างร่างกฎหมายที่แยกต่างหากจากร่างพระราชบัญญัติของรัฐบาล โดยประสงค์ที่จะช่วยเพิ่มการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ยาเสพติดของประเทศ ประเด็นสำคัญก็คือการสร้างกรอบทางกฎหมายสำหรับภาคประชาสังคมในการให้บริการ (เช่นงานการลดอันตรายฯ) โดยให้มีการละเว้นความรับผิดทางอาญาจากการให้ความช่วยเหลือผู้ใช้ยาฯ ขั้นตอนการร่างจะดำเนินต่อไปในปี พ. ศ. 2561 และท้ายที่สุดเพื่อที่จะนำเสนอร่างพระราชบัญญัติภาคประชาสังคมนี้ ก็จะต้องมีการรวบรวมลายเซ็น 50,000 ผู้สนับสนุนราย เพื่อให้มีการพิจารณาพิจารณารับร่างดังกล่าวเข้าสู่กระบวนการรับพิจารณาร่างกฎหมายต่อไป
ในปี 2560 ที่ผ่านมานั้น ยังเห็นได้ว่าได้มีการหารือกันอย่างต่อเนื่องภายในรัฐบาลไทยในการแก้ไขกฎระเบียบเกี่ยวกับสารต้องห้ามตามที่ แถลงข่าวในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2560 โดยคณะอนุกรรมการวิจัยและพัฒนานโยบายควบคุมและควบคุมสารเสพติดเมตแอมเฟทตามีน ถึงแม้ว่าข้อเสนอแนะของคณะอนุกรรมการฯ จะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่บทบาทการให้คำปรึกษาของพวกเขาจะนำไปสู่การทำงานของหน่วยงานควบคุมยาเสพติด ข้อเสนอแนะต่อไปนี้ ได้จากคำแนะนำจาก คณะอนุกรรมการฯ ซึ่งคำแนะนำบางส่วนได้มีการรับการรองโดยได้เข้าสู่ขั้นตอนการทดลองปฏิบัติอยู่:
กัญชง: คณะอนุกรรมการฯ สนับสนุนการออกกฎกระทรวง (บังคับใช้ ณ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2560) ตามมาตรา 6, 26 และ 62 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522 โดยอนุญาตให้ผลิตกัญชางเพื่อใช้เป็นพืชเชิงพาณิชย์ .
กระท่้อม: คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาว่าควรให้กระท่อมจัดอยู่ในยาเสพติด ประเภทที่ 5 ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติด แต่ได้มีข้อยกเว้นสำหรับการใช้และการเพาะปลูกส่วนบุคคลเพื่อใช้ส่วนบุคคล (จำนวนไม่เกิน 3 ต้น ต่อ ครัวเรือน) โดยให้เป็นไปตามการใช้แบบดั้งเดิมในเขต ตำบล นาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี อย่างไรก็ตามการผสม กระท่อมกับสารอื่น (เช่นยาแก้ไอ) เพื่อการบริโภคจะไม่ได้รับอนุญาต
กัญชา: คณะอนุกรรมการมิได้เสนอคำแนะนำในการเปลี่ยนประเภทของกัญชาให้เป็นยาเสพติดประเภทที่ 5 แต่สามารถขออนุญาตเพื่อทำการวิจัยภายใต้เงื่อนไขข้อกำหนดที่เข้มงวดได้
ตั้งแต่ต้นเดือนมกราคมปี พ. ศ. 2561 ที่ผ่านมา มีรายงานจากสำนักข่าวภายในประเทศเกี่ยวกับความเป็นไปได้ที่รัฐบาลจะอนุญาตให้มีการปลูกกัญชาเพื่อการแพทย์ การพูดคุยนี้สะท้อนให้เห็นถึงการเริ่มมีการเปิดประเด็นเพื่อทำการถกเถียงเรื่องการปฏิรูปนโยบายด้านยาของประเทศไทยต่อไป
ภาพขนาดย่อ: Ahmad Fuad Morad Mitragyna speciosa (Korth.) Havil
สมัครสมาชิก แจ้งข่าว IDPC ทุกเดือน เพื่อรับข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นที่เกี่ยวข้องกับนโยบายยาเสพติด
กรุณาดูด้านล่างสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเป็นภาษาอังกฤษ
Drug policy reform in Thailand kicked off early in 2017 with legal amendments that reduced the conflation of possession and supply offences. The prosecution now must produce sufficient evidence to demonstrate the culpability of people accused of selling/producing illicit substances. At the same time, the overall length of sentences for drug offences was reduced, a welcome and much-needed change in a context of soaring prison population.
More reforms were widely expected, as the military regime mulled substantial changes to the country’s drug policy. Indeed, under the leadership of the Office of the Narcotics Control Board (ONCB), a number of multi-stakeholder discussions underscored the need to shift towards a health-orientated approach. These conversations contemplated the possibility of removing prison penalties for drug use and a strengthening the involvement of the Ministry of Health in the national drug strategy.
The final package of amendments, contained in the Narcotics Control Bill, remains to be revealed. It is expected that a public consultation on the proposed legislation will take place in early 2018, with a view to finally adopt the new policy in late 2018.
In parallel to governmental efforts, communities of people who use drugs and harm reduction advocates have been working together to draft a separate piece of legislation. The bill would enhance the participation of civil society in the implementation of the country’s drug strategy. Crucially, it would create a legal framework for civil society to provide services (e.g. harm reduction) without the fear of criminal liability. The drafting process will continue in 2018, and the bill will have to collect 50,000 signatures for its consideration.
2017 also saw ongoing discussions within the Thai government to revise regulations on specific prohibited substances, as reported in a press release dated 17 August 2017 by the ‘Sub-Committee on Research and Development of Policies Regulating and Controlling Methamphetamine’. Although the Sub-Committee’s recommendations are not legally binding, their advisory role feeds into the work of the drug control agency. The following recommendations of the Sub-Commmitee have been adopted and some have entered a piloting phase:
- Hemp: the Sub-Committee supports the enactment of the Ministerial Regulation (in force as of 6 January 2017) under sections 6, 26 and 62 of the Thai Narcotics Act 1979, whereby hemp is allowed to be manufactured and possessed as a commercial crop.
- Kratom: the Sub-Committee appeared to consider that it should remain scheduled as a type 5 narcotic under the country’s Narcotics Act, but to permit exceptions for its personal use and cultivation for personal use (up to three plants per household) in accordance with traditional practice in the Nasarn district, Surattani Province. However, the mixing of kratom with other substances (e.g. cough medicine) for consumption will not be permitted.
- Cannabis: the sub-Committee made no recommendations to change the scheduling of cannabis as a type 5 narcotic, but the substance can be the subject of research under strict conditions.
From January 2018, there have been reports in local news outlets about the possibility of a medical cannabis system being implemented by the government. Whether this plan will come to fruition, the conversation reflects a buoyant ongoing national debate on drug policy reform. Thumbnail: Ahmad Fuad Morad Mitragyna speciosa (Korth.) Havil.